กลไกการเกิดพิษของ Botulinum toxin ของ Clostridium_botulinum

สารพิษจากโบตูลินัมจะมีผลยับยั้งการทำงานที่ปลายประสาทของเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic nerve terminal) โดยไปยับยั้งการปล่อยสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) หรือไปลดการหลั่งสาร acetylcholine (ซึ่งเป็นสารสื่อประสาท) ที่ปลายประสาท ทำให้ไม่สามารถสร้างกระแสประสาทส่งต่อไปยังเซลล์ต่าง ๆ ทำให้เซลล์ต่าง ๆ ทำงานไม่ได้ ซึ่งกลไกนี่เองที่ทำให้กล้ามเนื้อในร่างกายไม่สามารถทำงานได้ (หมดแรง อ่อนล้า) จะเห็นว่าผู้ป่วยที่ได้รับพิษเข้าไปมาก ๆ จะทำให้กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับระบบหายใจทำงานติดขัดด้วย ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถหายใจได้ [4]

แหล่งที่มา

WikiPedia: Clostridium_botulinum http://www.108health.com/108health/topic_detail.ph... http://pha.narak.com/topic.php?No=06821 http://www.vcharkarn.com/varticle/42555 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16163636 http://www.bacterio.net/clostridium.html#botulinum http://www.nzor.org.nz/names/de5dd4b1-9e04-42d2-bf... //doi.org/10.1086%2F444507 http://www.irmng.org/aphia.php?p=taxdetails&id=100... http://biology.ipst.ac.th/index.php?option=com_con... http://www.ifr.ac.uk/info/science/FoodbornePathoge...